โปรแกรมวาดภาพฟรี

โปรวาดภาพฟรี



โปรแกรม gimp 

เป็นโปรแกรมแต่งรูปที่มีลักษณะการทำงานคล้ายๆ โปรแกรม photoshop  โปรแกรมวาดรูปสุดเก่งของลีนุก
คุณสมบัติการใช้งานของ โปรแกรม gimp
1. มีเครื่องมือการใช้งานอย่างครบครัน
2 Transparency Support
3.Layers and channel
4.Undo Redo not limited Transformation tools
5. Plugin ง่ายต่อการติดตั้ง
6. Video Editing
และอีกการทำงานที่สำคัญของโปรแกรมนี้ คือเป็นโปรแกรมแต่งรูปที่สามารถใช้คีย์ลัด
หน้าต่างของโปรแกรม  gimp

โปรแกรม gimp

การสร้างงานใหม่

1. ที่กรอบหน้าต่าง Main Toolbox คลิกเมนู File –>New หรือ กดแป้น Ctrl+N ที่คีย์บอร์ด

2. จะปรากฏกรอบหน้าต่าง Create a New Image ให้กำหนดรูปแบบของหน้าต่างแสดงภาพ

โปรแกรม gimp

2. กำหนดขนาดของความกว้างยาวของขนาด 

Width    – กำหนดขนาดความกว้างของภาพและกำหนดหน่วยวัด เช่น จุด (Pixel) หรือ นิ้ว (Inches)
Height   –  กำหนดขนาดความสูงของภาพ โดยหน่วยวัดจะเป็นหน่วยเดียวกับขนาดความกว้าง

2.2 กำหนดรายละเอียดขั้นสูงโดยคลิกที่ปุ่มบวกของหัวข้อ Advanced Options แล้วจะเปลี่ยนเป็นปุ่มลบ จากนั้นกำหนดรายละเอียดในแต่ละรายการ

โปรแกรม gimp

X resolution  กำหนดความละเอียดของภาพในแนวนอน (แกน X)

resolution   กำหนดความละเอียดของภาพในแนวนอน (แกน Y)

การย้อนกลับการทำงานทีละขั้นตอน

  •          เมื่อมีการงานผิดพลาด สามารถยกเลิกได้ด้วยคำสั่ง Edit –> Undo หรือ กดคีย์ Ctrl + Z
  • ได้ทันที ซึ่งสามารถย้อนกลับการทำงานทีละขั้นตอน ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงขั้นตอนที่ต้องการ
  • โปรแกรม GIMP จะมีการบันทึกขั้นตอนการทำงานลงในไดอะล็อก Undo History
  • โดยอัตโนมัติ ตั้งแต่แรกจนถึงขั้นตอนล่าสุด โดยขั้นตอนที่ทำก่อนจะถูก เรียงอยู่บน
  • และขั้นตอนล่าสุดจะอยู่ล่างสุดในรายการ ดังนั้นถ้าเราทำงานผิดพลาดมาหลายคำสั่ง
  • จะทำการย้อยกลับการทำงานด้วย Undo History ได้รวดเร็วกว่าการ กดคีย์ Ctrl + Z  ดังตัวอย่างด้านล่าง

      หน้าต่างไดอะล็อก Undo History จะ แสดงขั้นตอนการทำงานที่กับภาพซึ่งได้บันทึกการทำงานไว้ ตั้งแต่แรก [Base Image]

จนถึงการทำงานขั้นตอนล่าสุด   ถ้าต้องการย้อนกลับก็ใช้เมาส์คลิกขั้นตอนที่ต้องการย้อนกลับได้เลย

โปรแกรม gimp

Tip! องค์ประกอบที่มีผลกับไฟล์ภาพ

  1. ขนาดของภาพ (Image Size)  ความกว้างและความยาว
  2. ความละเอียด (Resolution) เช่น
    –  ภาพบนเว็บและพรีเซนเตชั่น ควรใช้ 72 ppi
    –  ภาพพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เลเซอร์  ควรใช้  200 ppi
  3. –  ภาพสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ต้องเข้าพิมพ์ในโรงพิมพ์  ควรใช้  300 ppi
  4. โหมดสีของภาพ (Mode)  เรียงตามขนาดไฟล์น้อยไปมาก ดังนี้ Bitmap, Grayscale, RGB, CMYK, Lab color
    ** ควรกำหนดในแต่ละหัวข้อตามความต้องการใช้งานจริง  เพื่อช่วยลดขนาดไฟล์ และลดการทำงานของคอมพิวเตอร์ **

ความคิดเห็น